ค้นหาบล็อกนี้
วันเสาร์ที่ 9 ตุลาคม พ.ศ. 2553
วันพุธที่ 6 ตุลาคม พ.ศ. 2553
หน้าเว็ป
เว็บแนวตั้ง
3.หลักการใช้สีสำหรับการออกแบบเว็บไซต์
3.1 สีหลัก สีขาว
3.2 สีพื้นหลัง ลวดลาย สีสว่าง
3.3สีโดยรวม เข้ากับThemesหลัก
3.4 สีกับหมวดหมู่ เหมือนกันทุกหมวดหมู่
4.การใช้ตัวอักษรและกราฟิก
4.1 สีของตัวอักษร สีเข้ม
4.2ลักษณะตัวอักษร Tahoma ขนาด 16pt
4.3จำนวนภาพกราฟิก ภาพเยอะ
4.4ตำแหน่งในการวางภาพ กลาง,ขวา,ซ้าย
4.5ขนาดของภาพ ทั้ง JPEG และGIF
5. การใช้สื่อประสมสำหรับการออกแบบเว็บไซต์
5.1การใช้ภาพเคลื่อนไหว แถบโฆษณา
5.2) การใช้วิดีโอคลิป ใช้flash
5.3) การใช้เสียง ไม่มี
หลักการใช้สีสำหรับการออกแบบเว็บไซต์
หลักการใช้สีสำหรับการออกแบบเว็บไซต์
3).หลักการใช้สีสำหรับการออกแบบเว็บไซต์
3.1) จำนวนของสีหลัก
-เหมาะสมกับเว็ปไซต์ ส่งเสริมภาพลักษณ์ ใช้สีอย่างสม่ำเสมอ
3.2 )การใช้สีพื้นหลัง
-ภาพไม่รก สีเย็น อ่านง่าย อ่อนๆ
3.3) โทนสีโดยรวม
-เข้ากับ Concept ได้ ให้แมพกัน
3.4) สีกับหมวดหมู่
- ข่าว /เข็ม ๆ ทึม ๆ
-บันเทิง /สดใส/สนุก
4).การใช้ตัวอักษรและกราฟิก
4.1) สีของตัวอักษร ในเว็บควรจะใช้สีไร ตัวอักษร เช่น เข้ม กลาง อ่อน พื้นหลัง อ่อน/กาง , เข้ม/อ่อน,เข้ม/กลาง
4.2)ลักษณะตัวอักษร html(CSS) ,Font MS sanser,Font Arial,Font Geneva,ขนาด14-20 pt,หนา/เอียง,กะพริบ
4.3)จำนวนภาพกราฟิก
- ใช้อย่างเหมาะสมกับเนื้อหาและภาพ
4.4)ตำแหน่งในการวางภาพ
-ไม่มีตำแหน่งตายตัว
4.5)ขนาดของภาพ ไฟล์รูปภาพ JPEG,GIFเป็นภาพลายเส้น
5). การใช้สื่อประสมสำหรับการออกแบบเว็บไซต์
5.1) การใช้ภาพเคลื่อนไหว มีส่วนของ LOGO Animatd มันต้องมี Intractive เช่น ปุ่ม แทบนำทาง ใช้ในส่วนของหน้าเว็บ แบบ Intro ใช้ Flash ทำภาพเคลื่อ้าไปในเนื้อหานไหวขึ้นมาก่อนที่จะเข
5.2) การใช้วิดีโอคลิป
5.3) การใช้เสียง
3).หลักการใช้สีสำหรับการออกแบบเว็บไซต์
3.1) จำนวนของสีหลัก
-เหมาะสมกับเว็ปไซต์ ส่งเสริมภาพลักษณ์ ใช้สีอย่างสม่ำเสมอ
3.2 )การใช้สีพื้นหลัง
-ภาพไม่รก สีเย็น อ่านง่าย อ่อนๆ
3.3) โทนสีโดยรวม
-เข้ากับ Concept ได้ ให้แมพกัน
3.4) สีกับหมวดหมู่
- ข่าว /เข็ม ๆ ทึม ๆ
-บันเทิง /สดใส/สนุก
4).การใช้ตัวอักษรและกราฟิก
4.1) สีของตัวอักษร ในเว็บควรจะใช้สีไร ตัวอักษร เช่น เข้ม กลาง อ่อน พื้นหลัง อ่อน/กาง , เข้ม/อ่อน,เข้ม/กลาง
4.2)ลักษณะตัวอักษร html(CSS) ,Font MS sanser,Font Arial,Font Geneva,ขนาด14-20 pt,หนา/เอียง,กะพริบ
4.3)จำนวนภาพกราฟิก
- ใช้อย่างเหมาะสมกับเนื้อหาและภาพ
4.4)ตำแหน่งในการวางภาพ
-ไม่มีตำแหน่งตายตัว
4.5)ขนาดของภาพ ไฟล์รูปภาพ JPEG,GIFเป็นภาพลายเส้น
5). การใช้สื่อประสมสำหรับการออกแบบเว็บไซต์
5.1) การใช้ภาพเคลื่อนไหว มีส่วนของ LOGO Animatd มันต้องมี Intractive เช่น ปุ่ม แทบนำทาง ใช้ในส่วนของหน้าเว็บ แบบ Intro ใช้ Flash ทำภาพเคลื่อ้าไปในเนื้อหานไหวขึ้นมาก่อนที่จะเข
5.2) การใช้วิดีโอคลิป
5.3) การใช้เสียง
1.เต็มจอ
รูปแปบตัวอย่างเว็ปไซต์
1. ลักษณะแบบแนวตั้ง
2. ขนาดของหน้าเว็บ 800 x 600 px
3. การจัดวางตำแหน่ง
3.1 ส่วนบน : LOGO , ชื่อเว็บ , แถบเมนู , ค้นหา , ข้อมูลผู้ใช้
3.2 ส่วนเนื้อหา : ตัวอักษร , ภาพ , ข้อความ
3.3 ส่วนท้าย : ข้อมูลเพิ่มเติม , ลิขสิทธิ์ , ข้อมูลวิธีใช้งาน , ติดต่อผู้จัดทำ
4. ตำแหน่งของเมนู : ส่วนเชื่อมโยง บนสุด , ซ้ายสุด , ล่างสุด
5. ลักษณะของเมนู : รูปแบบ ไอคอน , ตัวอักษร , ภาพแบบ Roll - Over
6. การแบ่งหมวดหมู่ :
-การอัพเดท
-ข้อความ
-กิจกรรม
-เพื่อน
-เกมส์
-แอพพลิเคชั่น
รูปแปบตัวอย่างเว็ปไซต์
1. ลักษณะแบบแนวตั้ง
2. ขนาดของหน้าเว็บ 800 x 600 px
3. การจัดวางตำแหน่ง
3.1 ส่วนบน : LOGO , ชื่อเว็บ , แถบเมนู , ค้นหา , ข้อมูลผู้ใช้
3.2 ส่วนเนื้อหา : ตัวอักษร , ภาพ , ข้อความ
3.3 ส่วนท้าย : ข้อมูลเพิ่มเติม , ลิขสิทธิ์ , ข้อมูลวิธีใช้งาน , ติดต่อผู้จัดทำ
4. ตำแหน่งของเมนู : ส่วนเชื่อมโยง บนสุด , ซ้ายสุด , ล่างสุด
5. ลักษณะของเมนู : รูปแบบ ไอคอน , ตัวอักษร , ภาพแบบ Roll - Over
6. การแบ่งหมวดหมู่ :
-การอัพเดท
-ข้อความ
-กิจกรรม
-เพื่อน
-เกมส์
-แอพพลิเคชั่น
การใช้ตัวอักษร ( TYPOGRAPHY )
รูปแบบของ Typef มักจะแตกต่างไปทางรูปแบบและอารมณ์ที่แตกต่างกัน และควรนำมาใช้ให้เข้ากับูปแบบงานของตนเอง
คำศัพท์
Typo + ความหมาย
'' TYOGRAPHY'' การใช้ตัวอักษรหรือการจัดการตัวอักษร
''FONT'' ( TYPEFACES ) ชุดรูปแบบตัวอักษร
''FONT FAMILIES ''ตระกูลของชุดรูปแบบตัวอักษร เช่น ตัวธรรมดา ตัวหนา ตัวเอียง ฯลฯ
ส่วนประกอบของ Font
1. มีเชิง
2. ไม่มีเชิง
3. แบบลายมือเขียน
4. Noverlty font ประเภท แฟชั่นๆ
5. Dingbat (Ornament)
ขนาด หน่วย = points ( 72 Ponits = 1 นิ้ว ) แบบตัวอักษรที่แตกต่างกัน มีขนาด Ponits เท่ากันไม่จำเป็น ต้องมีความสูงเท่ากัน
TYPO + การผสมตัวอักษร
1. ตักอักษรที่ไม่มีเชิงผสมกับตัวอักษรตัวหน้า มีขา ตัวอักษรแบบมีความแตกต่างด้วยน้ำหนักและขนาด ทำให้เกิดความโดดเด่นได้ง่าย
COMBLNING
2. ตัวอักษรที่่ไมามีขา ผสมกับตัวอัษรมีขาการผสมอักษรแบบนี้ไม่มีจุดเด่นเนื่องจากตัวอักษรมีสองแบบไม่มีควมแตกต่างกันด้วยน้ำหนัก
3. ความแตกต่างอย่างชัดเจนของตัวอักษรแบบนี้เหมาะสำหรับงานพัฒนาแนวความคิด
4. การผสมแบบหลากหลาย สามารถสร้างความแตกต่างได้อย่างหลากหลาย
รูปแบบของ Typef มักจะแตกต่างไปทางรูปแบบและอารมณ์ที่แตกต่างกัน และควรนำมาใช้ให้เข้ากับูปแบบงานของตนเอง
คำศัพท์
Typo + ความหมาย
'' TYOGRAPHY'' การใช้ตัวอักษรหรือการจัดการตัวอักษร
''FONT'' ( TYPEFACES ) ชุดรูปแบบตัวอักษร
''FONT FAMILIES ''ตระกูลของชุดรูปแบบตัวอักษร เช่น ตัวธรรมดา ตัวหนา ตัวเอียง ฯลฯ
ส่วนประกอบของ Font
1. มีเชิง
2. ไม่มีเชิง
3. แบบลายมือเขียน
4. Noverlty font ประเภท แฟชั่นๆ
5. Dingbat (Ornament)
ขนาด หน่วย = points ( 72 Ponits = 1 นิ้ว ) แบบตัวอักษรที่แตกต่างกัน มีขนาด Ponits เท่ากันไม่จำเป็น ต้องมีความสูงเท่ากัน
TYPO + การผสมตัวอักษร
1. ตักอักษรที่ไม่มีเชิงผสมกับตัวอักษรตัวหน้า มีขา ตัวอักษรแบบมีความแตกต่างด้วยน้ำหนักและขนาด ทำให้เกิดความโดดเด่นได้ง่าย
COMBLNING
2. ตัวอักษรที่่ไมามีขา ผสมกับตัวอัษรมีขาการผสมอักษรแบบนี้ไม่มีจุดเด่นเนื่องจากตัวอักษรมีสองแบบไม่มีควมแตกต่างกันด้วยน้ำหนัก
3. ความแตกต่างอย่างชัดเจนของตัวอักษรแบบนี้เหมาะสำหรับงานพัฒนาแนวความคิด
4. การผสมแบบหลากหลาย สามารถสร้างความแตกต่างได้อย่างหลากหลาย
แม่สี คือ สีที่นำมาผสมกันแล้วทำให้เกิดสีใหม่ ที่มีลักษณะแตกต่างไปจากสีเดิม
แม่สี มือยู่ 2 ชนิด คือ
1. แม่สีของแสง เกิดจากการหักเหของแสงผ่านแท่งแก้วปริซึม มี 3 สี คือ สีแดง
สีเหลือง และสีน้ำเงิน อยู่ในรูปของแสงรังสี ซึ่งเป็นพลังงานชนิดเดียวที่มีสี
คุณสมบัติของแสงสามารถนำมาใช้ ในการถ่ายภาพ ภาพโทรทัศน์ การจัดแสงสี
ในการแสดงต่าง ๆ เป็นต้น (ดูเรื่อง แสงสี )
2. แม่สีวัตถุธาตุ เป็นสีที่ได้มาจากธรรมชาติ และจากการสังเคราะห์โดยกระบวน
ทางเคมี มี 3 สี คือ สีแดง สีเหลือง และสีน้ำเงิน แม่สีวัตถุธาตุเป็นแม่สีที่นำมาใช้
งานกันอย่างกว้างขวาง ในวงการศิลปะ วงการอุตสาหกรรม ฯลฯ
แม่สีวัตถุธาตุ เมื่อนำมาผสมกันตามหลักเกณฑ์ จะทำให้เกิด วงจรสี ซึ่งเป็นวงสี
ธรรมชาติ เกิดจากการผสมกันของแม่สีวัตถุธาตุ เป็นสีหลักที่ใช้งานกันทั่วไป ใน
วงจรสี จะแสดงสิ่งต่าง ๆ ดังต่อไปนี้
สีขั้นที่ 3 คือ สีที่เกิดจากสีขั้นที่ 1 ผสมกับสีขั้นที่ 2 ในอัตราส่วนที่เท่ากัน จะได้สีอื่น ๆ
อีก 6 สี คือ
สีแดง ผสมกับสีส้ม ได้สี ส้มแดง
สีแดง ผสมกับสีม่วง ได้สีม่วงแดง
สีเหลือง ผสมกับสีเขียว ได้สีเขียวเหลือง
สีน้ำเงิน ผสมกับสีเขียว ได้สีเขียวน้ำเงิน
สีน้ำเงิน ผสมกับสีม่วง ได้สีม่วงน้ำเงิน
สีเหลือง ผสมกับสีส้ม ได้สีส้มเหลือง
วรรณะของสี คือสีที่ให้ความรู้สึกร้อน-เย็น ในวงจรสีจะมีสีร้อน 7 สี และ
สีเย็น 7 สี ซึ่งแบ่งที่ สีม่วงกับสีเหลือง ซึ่งเป็นได้ทั้งสองวรรณะ
สีตรงข้าม หรือสีตัดกัน หรือสีคู่ปฏิปักษ์ เป็นสีที่มีค่าความเข้มของสี ตัดกันอย่าง
รุนแรง ในทางปฏิบัติไม่นิยมนำมาใช้ร่วมกัน เพราะจะทำให้แต่ละสีไม่สดใส
เท่าที่ควร การนำสีตรงข้ามกันมาใช้ร่วมกัน อาจกระทำได้ดังนี้
1. มีพื้นที่ของสีหนึ่งมาก อีกสีหนึ่งน้อย
2. ผสมสีอื่นๆ ลงไปสีสีใดสีหนึ่ง หรือทั้งสองสี
3. ผสมสีตรงข้ามลงไปในสีทั้งสองสี
สีกลาง คือ สีที่เข้าได้กับสีทุกสี สีกลางในวงจรสี มี 2 สี คือ สีน้ำตาล กับ สีเทา
สีน้ำตาล เกิดจากสีตรงข้ามกันในวงจรสีผสมกัน ในอัตราส่วนที่เท่ากัน สีน้ำตาลมี
คุณสมบัติสำคัญ คือ ใช้ผสมกับสีอื่นแล้วจะทำให้สีนั้น ๆ เข้มขึ้นโดยไม่เปลี่ยน
แปลงค่าสี ถ้าผสมมาก ๆ เข้าก็จะกลายเป็นสีน้ำตาล
สีเทา เกิดจากสีทุกสี ๆ สีในวงจรสีผสมกัน ในอัตราส่วนเท่ากัน สีเทา มีคุณสมบัติ
ที่สำคัญ คือ ใช้ผสมกับสีอื่น ๆ แล้วจะทำให้ มืด หม่น ใช้ในส่วนที่เป็นเงา ซึ่งมีน้ำหนัก
อ่อนแก่ในระดับต่าง ๆ ถ้าผสมมาก ๆ เข้าจะกลายเป็นสีเทา
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)